การสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งโดยผ่าน ช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ข้างเคียงต่าง ๆ มาเชื่อมต่อถึงกันโดยใช้สายเคเบิ้ลเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนชุดข้อมูล ชุดคำสั่ง และข่าวสารต่าง ๆ ระหว่างคอมพิวเตอร์ กับ คอมพิวเตอร์และระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ข้างเคียง การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
รูปแบบของการสื่อสารข้อมูล (Communications Model) จุดมุ่งหมายหลักของระบบสื่อสารคือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองฝ่าย โดยฝ่ายหนึ่งอาจรับข้อมูลหรือส่งเพียงอย่างเดียว หรืออาจมีทั้งการรับและส่งได้ทั้งสองฝ่าย จาก (รูปที่ 2.2) แสดงการติดต่อสื่อสารกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Workstation กับเครื่อง Server ผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ องค์ประกอบพื้นฐานของโครงสร้างระบบสื่อสารประกอบด้วย 1. อุปกรณ์ต้นทาง (Source) อุปกรณ์นี้ทำหน้าที่สร้างข้อมูลขึ้นมา ที่ใช้ในการกระจายออกไป 2. อุปกรณ์กระจายข้อมูล (Transmitter) โดยปกติข้อมูลที่สร้างขึ้นมา จากต้นทาง ไม่สามารถกระจายหรือส่งข้อมูลในรูปแบบนั้นให้กับผู้รับอื่นได้โดยตรง จำเป็นต้องอาศัยตัวกระจายข้อมูล (Transmitter) ซึ่งจะทำหน้าที่เปลี่ยนแปลง รูปแบบข้อมูลให้อยู่ ในสภาพที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Signals) แล้วส่งผ่านเข้าไปในระบบรับส่งข้อมูล (Transmission System) ตัวอย่างเช่นข้อมูลที่สร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต้นทาง (Source) เครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะส่งออกไปจะต้องมีโมเด็ม (Modem) ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital Bit Stream) ไปเป็นสัญญาณอนาลอก (Analog Signal) ซึ่งเป็นสถานะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งผ่านเข้าไปในระบบเครือข่ายโทรศัพท์ (Telephone Network) 3. ระบบการส่งสัญญาณ (Transmission) จะทำหน้าที่เป็นตัวนำพาสัญญาณจากเครื่องส่งหรืออุปกรณ์ส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่ง transmission หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นสื่อนำสัญญาณ (media) ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะทั้งสื่อนำสัญญาณแบบมีสารและไร้สาย 4. อุปกรณ์รับสัญญาณ (Receiver) อุปกรณ์ที่เป็น receiver จะทำหน้าที่รับสัญญาณจากระบบกระจายสัญญาณ (transmission system) แล้วเปลี่ยนแปลงสัญญาณกลับเป็นรูปแบบที่เหมือนกับต้นฉบับก่อนที่จะส่งออกมาจากต้นทาง ทำให้อุปกรณ์ปลายทาง ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถจัดการกับข้อมูล ที่รับเข้ามาได้ เช่น โมเด็ม (Modem) จะเปลี่ยนสัญญาณอนาลอก (analog) กลับไปเป็นสัญญาณดิจิตอล (digital) ให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ปลายทางอ่านข้อมูลหรือจัดการกับข้อมูลได้ 5. อุปกรณ์ปลายทาง (Destination) รับข้อมูลเข้ามาจาก อุปกรณ์รับสัญญาณ (receiver)
ระบบซิงโครนัส ( 1 ) การซิงโครโครไนซ์บิตและการซิงโครไนซ์บล็อก เมื่อสัญญาณข้อมูลถูกส่งผ่านไปตามสายส่งสัญาญาณ เข้าสู่ DTE ปลายทาง สิ่งที่สำคัญก่อนอื่นก็คืออุปกรณ์ปลายทางจะต้องสามารถสัญญาณไบนารีหรือบิตซึ่งเป็นสัญญาณพื้นฐานที่สุดนี้ให้ได้อย่างถูกต้องตามจังหวะที่ส่งมา เสียก่อน การที่อุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งอุปกรณืไบนารีได้ถูกต้องตามจัหวะนี้เรียกว่า การซิงโครไนซ์บิต เมื่ออุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งบิตต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแล้ว อุปกรณ์ปลายทางก็ยังจำเป็นต้องรู้ว่าสัญญาณที่รับมานั้น สำหรับสหัสแต่ละตัวมีการเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ใหนเรียกว่าการซิงโครไนซ์บล็อก วิธีง่าย ๆ ที่จะทำให้มีการซิงโครไนซ์บิต และการซิงโครไนซ์บล็อกนั้น ทำได้โดยการส่งสัญญาณไทมิ่งไปยังสายอีกเส้นหนึ่งขนานไปกับสายที่ส่งสัญญาณข้อมูล แต่วิธีนี้จะไม่สามารถทำได้กรณีที่ติดต่อกัน เป็นระยะไกล ๆ เพระค่าใช้จ่ายสูงมาก ( 2 ) การส่งแบบซิงโครนัสและการส่งแบบอะซิงโครนัส วิธีส่งข้อมูลในทางปฏิบัตินั้น เมื่อแบ่งตามลักษณะการซิงโครไนซ์แล้วจะแบ่งได้เป็นการส่งแบบซิงโครนัส และการส่งแบบอะซิงโครนัส ซึ่งทั้งสองแบบนี้จะใช้วิธีแยกสัญญาณไทมิ่งจากสัญญาณข้อมูลที่รับมา การส่งแบบอะซิงโครนัสซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับระบบที่มีการส่งข้อมูลอัตราต่ำนั้น DTE ทางด้านส่งเมื่อต้องการส่งสัญญาณรหัสออกไป ก็จะจัดสัญญาณนั้นให้อยู่ในรูปอนุกรมแล้วเติมบิตเริ่มต้น ( start bit ) ไว้ที่ด้านหน้า และเติมบิตสิ้ดสุด ( stop bit ) ไว้ที่ด้านหลัง แล้วส่งออกไปตามจัหวะของสัญญาณนาริกาทางด้านส่ง ส่วน DTE ทางปลายทางนั้น เมื่อรับบิตเริ่มต้นได้ก็จะทำการรับสัญญาณข้อมูลที่ส่งตามมา โดยใช้จังหวะของสัญญาณนาฬิกาของสถานีตัวเอง และจะรับสัญญาณจนกว่าจะถึงบิตสิ้นสุดแล้วจึงหยุดรับ ดังนั้นวิธีการนี้ DTE ก็จะทำการซิงโครไนซ์บิตและซิงโครไนซ์บล็อกพร้อมกันไป แต่วิธีนี้จะมีปัญหา เกิดขึ้นได้ถ้าสัญญาณรหัสที่ส่งมามีความยาวมากขึ้น เพราะนั้นหมายถึงจังหวะสัญญาณนาฬิการทางด้านส่งและด้านรับจะมีโอกาศเบี่ยง เบนกันไปได้มากขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมักจะใช้ส่งสัญญาณรหัสเป็นหน่วยสั้น ๆ
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งโดยผ่าน ช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
ตอบลบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง การนำคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ข้างเคียงต่าง ๆ มาเชื่อมต่อถึงกันโดยใช้สายเคเบิ้ลเป็นสื่อกลางในการ
แลกเปลี่ยนชุดข้อมูล ชุดคำสั่ง และข่าวสารต่าง ๆ ระหว่างคอมพิวเตอร์ กับ คอมพิวเตอร์และระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ข้างเคียง
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้
สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่าย
จึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
รูปแบบของการสื่อสารข้อมูล (Communications Model)
ตอบลบจุดมุ่งหมายหลักของระบบสื่อสารคือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองฝ่าย โดยฝ่ายหนึ่งอาจรับข้อมูลหรือส่งเพียงอย่างเดียว หรืออาจมีทั้งการรับและส่งได้ทั้งสองฝ่าย จาก (รูปที่ 2.2) แสดงการติดต่อสื่อสารกัน ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Workstation กับเครื่อง Server ผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ องค์ประกอบพื้นฐานของโครงสร้างระบบสื่อสารประกอบด้วย
1. อุปกรณ์ต้นทาง (Source) อุปกรณ์นี้ทำหน้าที่สร้างข้อมูลขึ้นมา ที่ใช้ในการกระจายออกไป
2. อุปกรณ์กระจายข้อมูล (Transmitter) โดยปกติข้อมูลที่สร้างขึ้นมา จากต้นทาง ไม่สามารถกระจายหรือส่งข้อมูลในรูปแบบนั้นให้กับผู้รับอื่นได้โดยตรง จำเป็นต้องอาศัยตัวกระจายข้อมูล (Transmitter) ซึ่งจะทำหน้าที่เปลี่ยนแปลง รูปแบบข้อมูลให้อยู่ ในสภาพที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Signals) แล้วส่งผ่านเข้าไปในระบบรับส่งข้อมูล (Transmission System) ตัวอย่างเช่นข้อมูลที่สร้างขึ้นจากอุปกรณ์ต้นทาง (Source) เครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะส่งออกไปจะต้องมีโมเด็ม (Modem) ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital Bit Stream) ไปเป็นสัญญาณอนาลอก (Analog Signal) ซึ่งเป็นสถานะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งผ่านเข้าไปในระบบเครือข่ายโทรศัพท์ (Telephone Network)
3. ระบบการส่งสัญญาณ (Transmission) จะทำหน้าที่เป็นตัวนำพาสัญญาณจากเครื่องส่งหรืออุปกรณ์ส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่ง transmission หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นสื่อนำสัญญาณ (media) ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะทั้งสื่อนำสัญญาณแบบมีสารและไร้สาย
4. อุปกรณ์รับสัญญาณ (Receiver) อุปกรณ์ที่เป็น receiver จะทำหน้าที่รับสัญญาณจากระบบกระจายสัญญาณ (transmission system) แล้วเปลี่ยนแปลงสัญญาณกลับเป็นรูปแบบที่เหมือนกับต้นฉบับก่อนที่จะส่งออกมาจากต้นทาง ทำให้อุปกรณ์ปลายทาง ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถจัดการกับข้อมูล ที่รับเข้ามาได้ เช่น โมเด็ม (Modem) จะเปลี่ยนสัญญาณอนาลอก (analog) กลับไปเป็นสัญญาณดิจิตอล (digital) ให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ปลายทางอ่านข้อมูลหรือจัดการกับข้อมูลได้
5. อุปกรณ์ปลายทาง (Destination) รับข้อมูลเข้ามาจาก อุปกรณ์รับสัญญาณ (receiver)
ระบบซิงโครนัส
ตอบลบ( 1 ) การซิงโครโครไนซ์บิตและการซิงโครไนซ์บล็อก
เมื่อสัญญาณข้อมูลถูกส่งผ่านไปตามสายส่งสัญาญาณ เข้าสู่ DTE ปลายทาง สิ่งที่สำคัญก่อนอื่นก็คือ
อุปกรณ์ปลายทางจะต้องสามารถสัญญาณไบนารีหรือบิตซึ่งเป็นสัญญาณพื้นฐานที่สุดนี้ให้ได้อย่างถูกต้องตาม
จังหวะที่ส่งมา เสียก่อน การที่อุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งอุปกรณืไบนารีได้ถูกต้องตามจัหวะนี้เรียกว่า การ
ซิงโครไนซ์บิต
เมื่ออุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งบิตต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแล้ว อุปกรณ์ปลายทางก็ยังจำเป็นต้องรู้ว่าสัญญาณ
ที่รับมานั้น สำหรับสหัสแต่ละตัวมีการเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ใหนเรียกว่าการซิงโครไนซ์บล็อก
วิธีง่าย ๆ ที่จะทำให้มีการซิงโครไนซ์บิต และการซิงโครไนซ์บล็อกนั้น ทำได้โดยการส่งสัญญาณไทมิ่งไปยังสายอีก
เส้นหนึ่งขนานไปกับสายที่ส่งสัญญาณข้อมูล แต่วิธีนี้จะไม่สามารถทำได้กรณีที่ติดต่อกัน เป็นระยะไกล ๆ เพระค่าใช้จ่าย
สูงมาก
( 2 ) การส่งแบบซิงโครนัสและการส่งแบบอะซิงโครนัส
วิธีส่งข้อมูลในทางปฏิบัตินั้น เมื่อแบ่งตามลักษณะการซิงโครไนซ์แล้วจะแบ่งได้เป็นการส่งแบบซิงโครนัส และการ
ส่งแบบอะซิงโครนัส ซึ่งทั้งสองแบบนี้จะใช้วิธีแยกสัญญาณไทมิ่งจากสัญญาณข้อมูลที่รับมา
การส่งแบบอะซิงโครนัสซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับระบบที่มีการส่งข้อมูลอัตราต่ำนั้น DTE ทางด้านส่งเมื่อต้องการส่งสัญญาณ
รหัสออกไป ก็จะจัดสัญญาณนั้นให้อยู่ในรูปอนุกรมแล้วเติมบิตเริ่มต้น ( start bit ) ไว้ที่ด้านหน้า และเติมบิตสิ้ดสุด
( stop bit ) ไว้ที่ด้านหลัง แล้วส่งออกไปตามจัหวะของสัญญาณนาริกาทางด้านส่ง ส่วน DTE ทางปลายทางนั้น เมื่อรับบิต
เริ่มต้นได้ก็จะทำการรับสัญญาณข้อมูลที่ส่งตามมา โดยใช้จังหวะของสัญญาณนาฬิกาของสถานีตัวเอง และจะรับสัญญาณจน
กว่าจะถึงบิตสิ้นสุดแล้วจึงหยุดรับ ดังนั้นวิธีการนี้ DTE ก็จะทำการซิงโครไนซ์บิตและซิงโครไนซ์บล็อกพร้อมกันไป แต่วิธีนี้จะ
มีปัญหา เกิดขึ้นได้ถ้าสัญญาณรหัสที่ส่งมามีความยาวมากขึ้น เพราะนั้นหมายถึงจังหวะสัญญาณนาฬิการทางด้านส่งและด้านรับจะ
มีโอกาศเบี่ยง เบนกันไปได้มากขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมักจะใช้ส่งสัญญาณรหัสเป็นหน่วยสั้น ๆ